11.11.55

“การก่อเหตุรุนแรงอย่างไม่หยุดหย่อนทำให้ศาสนาอิสลามมัวหมอง”


KOTA BARU: THE majority of Malay Muslims in Thailand's southern region are against the killings of their fellow citizens in the name of Islam.
  Yala Islamic Affairs Council president Ismael Abd Latif Haree said those who had caused unrest in the south had tarnished the image of Islam by linking their struggles with the religion.
"Violence is not the way of life of Thai Muslims as we prefer to live in harmony with others. Most of us do not accept extremist activities," he said in a statement yesterday.
Since the insurgency escalated in 2004, more than 4,500 people, comprising civilians, soldiers and monks, have been killed in bombings, drive-by shootings and murders in Yala, Pattani and Narathiwat.
The three provinces, with predominantly Malay Muslim population, have become the stage for separatist movements to wage a campaign for self-rule on the basis that the region was once an Islamic kingdom.
Also, militants in the south have for decades complained that their government discriminates against and persecutes their community based on their faith.
Ismael said the insurgency could not be accepted as a form of jihad (holy war) by the people who understood the teachings of Islam.
"The situation in the south is not jihad. Their acts of violence break the law and rules of Islam," he said, adding that the terror acts were committed by groups whose identities were difficult to ascertain.
For Thai Muslims, he said, jihad remained a religious duty that chiefly concerned their commitment to live life as a true Muslim and the efforts to build a good Muslim society.
He said there were no grounds for Thai Muslims to support violence as they had the freedom to carry out their religious activities.
Besides, he said, the government had provided support by building mosques and religious schools for their children.
"The Thai government also gives priority to our children to have proper education."
However, Ismael said, most of the people refused to speak out against the insurgents for fear of personal safety.

ประชาชนชาวไทยมุสลิมปฏิเสธการใช้ความรุนแรง มิใช่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เหตุการณ์ที่ไม่เงียบสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทำให้ศาสนาอิสลามมัวหมอง
ประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดยะลา นายสะมะแอ อับดุล ลาติป ฮารี ได้กล่าวว่าผู้ก่อความ  ไม่สงบไม่ได้รับการยอมว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของการตู้แบบสงครามศักดิ์สิทธิ์ หรือญีฮาด
เมืองโกตาบารู : ประชาชนมุสลิมเชื้อสายมลายูในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย แสดงการต่อต้าน     การฆ่าประชาชนในท้องถิ่น แล้วอ้างว่ากระทำในนามของศาสนาอิสลาม
ประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดยะลา นายสะมะแอ อับดุล ลาติป ฮารี ได้กล่าวว่าผู้ที่ก่อให้เกิดเหตุการณ์ไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้ ได้สร้างความมัวหมองให้แก่ภาพลักษณ์ของศาสนาอิสลามจากการที่พยายามเชื่อมโยง การต่อสู้ของพวกตนเข้ากับศาสนา
ท่านได้กล่าวว่า การใช้ความรุนแรงมิใช่วิถีชีวิตของประชาชนมุสลิมไทย ซึ่งปรารถนาที่จะอยู่ร่วมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับประชาชนในส่วนอื่น ๆ ประชาชนส่วนใหญ่ของพวกเรา ไม่สามารถยอมรับกิจกรรมการปฏบัติของกลุ่มหัวรุนแรงได้
ตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ก่อความไม่สงบเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๗ ปรากฏมีประชาชนอันประกอบด้วยพลเรือน ทหาร และพระภิกษุ มากกว่า ๔,๕๐๐ คน ถูกฆ่าจากระเบิด การยิง การฆาตกรรมในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ซึ่งใน ๓ จังหวัดดังกล่าวมีประชาชนส่วนใหญ่เป็นมุสลิมเชื้อสายมลายู และพื้นที่ได้กลายเป็นฐานการเคลื่อนไหวของกลุ่มแบ่งแยกดินแดน ที่รณรงค์ต่อสู้เพื่อการปกครองตนเอง บนพื้นฐานของพื้นที่ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นอาณาจักรของศาสนาอิสลาม และในขณะเดียวกัน กลุ่มจัดตั้งแบบทหารในพื้นที่ภาคใต้ได้กล่าวโจมตีว่า รัฐบาลมีการแบ่งแยกและทำลายสังคมชุมชนมุสลิม ซึ่งตั้งอยู่บนความเชื่อและศรัทธา
ท่านสะมะแอฯ ได้กล่าวว่า กลุ่มก่อความไม่สงบไม่สามารถสร้างการยอมรับได้ว่าการต่อสู้ของพวกเขานั้นเป็นการต่อสู้แบบหนึ่งของญีฮาด (หรือสงครามศักดิ์สิทธิ์) โดยเฉพาะจากประชาชนผู้มีความรู้ความเข้าใจ   ในหลักการสอนของศาสนาอิสลาม
ท่านกล่าวต่อไปอีกว่า สถานการณ์ในภาคใต้มิใช่การต่อสู้แบบญีฮาด ลักษณะการกระทำก่อเหตุรุนแรงเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายและหลักการแห่งศาสนาอิสลาม นอกจากนี้ได้กล่าวเพิ่มเติมอีกว่า การกระทำของผู้ก่อการร้ายจะได้รับการช่วยเหลือหรือมีส่วนสัมพันธ์ก็จากกลุ่มที่มีลักษณะส่วนบุคคลซึ่งยากต่อการสืบหารายละเอียดได้
สำหรับชายไทยมุสลิม ญีฮาด ยังคงเป็นบทบาทหน้าที่ตามศาสนา ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับพันธะผูกพันของการที่จะอยู่และอาศัยตามแนวทางของชาวมุสลิมที่แท้จริง ก็คือ ความพยายามที่จะสร้างให้สังคมมิสลิมเป็นสังคมที่ดี
ท่านได้กล่าวว่า (ที่ผ่านมาและขณะนี้) ไม่มีพื้นดินสำหรับชาวมุสลิมที่สนับสนุนการใช้ความรุนแรงในขณะเดียวกันที่ชาวมุสลิมล้วนมีเสรีภาพที่จะดำเนินกิจกรรมทางศาสนาใด ๆ ก็ได้
นอกจากนี้ ท่านได้กล่าวต่อไปว่า รัฐบาลได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนมุสลิม โดยช่วยสร้างมัสยิดและโรงเรียนสอนศาสนาสำหรับเด็ก
รัฐบาลไทยได้ให้ความเร่งด่วนในการช่วยเหลือด้านการศึกษาให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาอย่างแท้จริง แต่อย่างไรก็ตาม นายสะมะแอฯ ได้กล่าวทิ้งท้ายว่า ประชาชนมักจะปฏิเสธที่จะพูดถึงการต่อต้านพวกก่อความไม่สงบ อันเนื่องมาจากความกลัวในเรื่องความปลอดภัยส่วนบุคคล (เป็นเหตุผลสำคัญ)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น